Toward Innovative Society: Fight COVID-19
เนื่องด้วยวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทยและทั่วโลก ทำให้มีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมากและกระจายไปทั่วเกือบทุกพื้นที่ เนื่องจากว่าเป็นโรคอุบัติใหม่ที่มีโอกาสในการแพร่กระจายเชื้อและติดกันได้ง่ายมาก และยังไม่มีวัคซีนในการป้องกันโรคได้กระบวนการบำบัดรักษาจึงค่อนข้างยุงากพอสมควรในเรื่องการกักโซนพื้นที่รักษา ถึงแม้จะมีมาตรการหลายอย่างที่จะช่วยบรรเทาสถานการณ์ไม่ให้เลวร้ายมากแล้วก็ตาม แต่ว่าในประเทศไทยเรามีบุคลากรทางการแพทย์ รวมทั้งโรงพยาบาลและสถานพยาบาลที่มีจำกัด ซึ่งรวมไปถึงอุปกรณ์การแพทย์สำหรับโรคอุบัติใหม่นี้ยังขาดแคลนเป็นอย่างมากและมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วน เพื่อช่วยบุคลากรทางการแพทย์และโรงพยาบาลอย่างเป็นรูปธรรมตามความถนัดและความชำนาญที่เราสามารถทำได้
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้มีการประสานงานรับโจทย์ปัญหาทางการแพทย์นั้นมาเพื่อคิดสร้างนวัตกรรม เครื่องมือ สิ่งอำนวยความสะดวก หรืออุปกรณ์สนับสนุนการแพทย์ เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ให้สามารถทำงานในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 โดยการร่วมทำงานผลิตผลงานนวัตกรรมหรือการดำเนินงานดังต่อไปนี้
- I2P – Idea to product, in 7 days โครงการผลิตหน้ากากป้องกันใบหน้า (Face Shield) จากดีไซน์สู่ผลิตภัณฑ์ใน 7 วัน
- การฆ่าเชื้อหน้ากากอนามัยด้วยรังสียูวี (Respirator Sterilization by UVC)
- น้องกระจก หรือ Telepresence
- น้องปิ่นโต (Quarantine Delivery Robot) หรือหุ่นยนต์พัฒนาเพื่อการขนส่ง และการสื่อสารทางไกล เพื่อช่วยบุคลากรทางการแพทย์
- การทดสอบมาตรฐานชุด PPE เพื่อการใช้งานสำหรับแพทย์ในห้อง ICU COVID
- ตู้ความดันลบ (Negative Pressure Cabinet)
- รถความดันบวก “CU กองหนุน”
- หุ่นยนต์ที่ช่วยประเมิน ดูแล ฟื้นฟู บริการผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
ผลงานวิจัยของภาควิชาต่างๆ
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
- ระบบติดตาม วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลการใช้งานรถโบกี้บรรทุกตู้สินค้า
- การขนส่งสีเขียว…ถึงเวลาที่เราต้องสร้างและใช้งานระบบขนส่งอย่างยั่งยืน
- การเสริมกำลังโครงสร้างเหล็กโดยใช้พอลิเมอร์เสริมเส้นใย และลวดอัดแรงภายหลัง
Smart Mobility - การเตรียมพร้อมเมืองหลวงรับภัยธรรมชาติ
- การตรวจสอบภาพถ่ายรอยแตกร้าวภายนอกอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยอากาศยานไร้คนขับ
- เครื่องมือทดสอบความต้านทานของวัสดุที่ใช้ทำชุดป้องกันต่อการทะลุผ่านของเลือดสังเคราะห์ โดยไม่ต้องใช้เครื่องจักรกลในการอัดแรงดัน
- คอนกรีตสมรรถนะสูง
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
- ควอนตัมดอต อนาคตของวัสดุนาโนอิเล็กทรอนิกส์
- ทีมหุ่นยนต์กู้ภัย Plasma-RX Chulalongkorn University Rescue the World
- อุปกรณ์และซอฟต์แวร์สำหรับคนพิการแขนและ/หรือขาและคนเป็นอัมพาตในการใช้คอมพิวเตอร์
- กระดานอิเล็กทรอนิกส์เพื่อผู้พิการทางสายตาสำหรับการเรียนรู้เรื่องกราฟ
- CU Tracking ระบบช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
- บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์
- อินเวอร์เตอร์กับการประหยัดพลังงาน
- CU-TALK เครื่องสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย
- ภัยเงียบเมื่อหัวใจเต้นผิดจังหวะ
- Solar Cells และ Nanoelectronic
- การอนุมานเหตุและผลเกรนเจอร์ในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของแหล่งสัญญาณของ EEG ด้วยแนวทางปริภูมิสถานะ
- ระบบวีดิทัศน์ที่ซ่อนคำบรรยายภาพภาษาไทยและอังกฤษ เพื่อคนหูหนวก
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
- เตียงผู้ป่วยอัจฉริยะ
- หุ่นยนต์บริการกับชีวิตชาวกรุงเทพฯ หลังการแพร่ระบาดของ COVID-19
- กลไกข้อเข่าของขาเทียมสำหรับผู้พิการขาขาดเหนือเข่า
- ยานยนต์ควบคุมระยะไกลผ่านเครือข่าย 5G
- หุ่นยนต์บริการกับเทคโนโลยีการสื่อสารยุค 5G
- ระบบของไหลจุลภาคสำหรับคัดแยก จัดเก็บ และเพาะเลี้ยงเซลล์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางชีวภาพของเซลล์มะเร็ง
- อุปกรณ์ระบบของไหลจุลภาคเพื่อประยุกต์ใช้ศึกษาด้านวิศวกรรมชีวภาพ
- Cobots: Collaborative Robots
- เครื่องเจียระไนพลอยอัตโนมัติ
- MEMS: Micro Electro Mechanical Systems
ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ
- การแก้ไขข้อบกพร่องในการหล่อเครื่องประดับ
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์กระดูกไทเทเนียมสั่งตัดเฉพาะบุคคล
- งานวิจัยกระบวนการผลิตเครื่องประดับและอัญมณีไทยจากโลหะเงินผสม เพื่อประหยัดพลังงานและลดต้นทุนการผลิต
- วิศวกรรมพื้นผิว (Serface Engineering) เทคโนโลยีช่วยยืดอายุการใช้งาน ลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
- การผลิตอิฐเผาจากตะกอนของอุตสาหกรรมเหมืองหิน
- ระบบสนับสนุนการบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
- แนวทางการเติมอากาศเพื่อป้องกันปัญหานํ้าเน่าเสียจากเหตุการณ์นํ้าท่วม
- การเติมอากาศ (Aeration) และการกรอง (Filtration) สำหรับการพัฒนาระบบเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าในประเทศ
- นวัตกรรมวัสดุดูดซับนํ้ามันจากของเสียวิสโคส
- ชีวมวลเป็นแก๊สเชื้อเพลิง อีกทางเลือกพลังงานยั่งยืนของประเทศ
- การผลิตกลาสเซรามิกจากเศษแก้วรีไซเคิล
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
- การเปลี่ยนเอทานอลไปเป็นสารเคมีที่มีมูลค่าเพิ่มโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ์
- เซลล์เชื้อเพลิงสำหรับการผลิตพลังงานไฟฟ้า
- นาโนเคลย์กับการปรับปรุงคุณภาพของครีมนวดผมนํ้ามันมะกรูด
- ผลิตภัณฑ์กันยุงนาโนอิมัลชันที่บรรจุสารที่มีฤทธิ์ไล่ยุงจากสารสกัดสมุนไพร
- ฟิล์มพลาสติกชีวภาพสำหรับการยืดอายุผัก ผลไม้สดและเก็บรักษาคุณภาพของผลไม้แห้ง
- ผ้าเบรกนาโนนวัตกรรมใหม่สำหรับเบรกรถยนต์
- ฟิล์มพอลิเมอร์/ดินเหนียวนาโนคอมโพสิตเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์
- โครงเลี้ยงเซลล์จากชีววัสดุที่ผลิตได้ในประเทศเพื่อประยุกต์ใช้ทางการแพทย์
- ระบบนำส่งยาที่ผลิตจากชีววัสดุ
- เทคโนโลยีฟิล์มเคลือบเพื่อยืดอายุผลไม้ไทยหลังการเก็บเกี่ยว
- การสกัดสารต้านมะเร็งแอนทราควิโนนส์จากรากของต้นยออย่างมีประสิทธิภาพ
- การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต n-Butanol จากวัสดุทางการเกษตรเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง
- เกราะกันกระสุนนํ้าหนักเบาสมรรถนะสูง
- สีทนไฟชนิดอินทูเมสเซนท์ในระดับโรงงานนำร่อง
ภาควิชาวิศวกรรมสำรวจ
- An Exploratory Survey on the Perceived Risk of COVID-19 and Travelling
- Performance of Network-Based RTK GNSS for the Cadastral Survey in Thailand
- Discrimination of Tropical Mangroves at the Species Level with EO-1 Hyperion Data
- Improving the Accuracy of Mangrove Species Discrimination Using Object Based and High Spatial Resolution Imagery: A Case Study in Pak Phanang, Thailand
- The Development of a Mobile Map Application for Park and Ride Users
- Tropical Mangrove Species Discrimination Using Hyperspectral Data: A Laboratory Study
- Variations of Precipitable Water Vapor Using GNSS CORS in Thailand
- การบินสำรวจภูมิประเทศด้วยไลดาร์ครั้งแรกของประเทศไทย
- การใช้ Remote Sensing เพื่อการศึกษาพืช
ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า
- โครงการแผนที่นำทางการวิจัยประเด็นวิจัยยุทธศาสตร์ เรื่อง “การจัดการนํ้าเพื่อรองรับยุทธศาสตร์นํ้าของประเทศ”
- โครงการการพัฒนาศักยภาพของประเทศไทยต่อการรู้รับ ปรับตัว และฟื้นคืนกลับจากภัยแล้งด้านการเกษตร
- โครงการการสนับสนุนกำหนดทิศทางการวิจัยและนวัตกรรม และกำหนดนโยบายขับเคลื่อนภายใต้โครงการวิจัยเข็มมุ่งด้านการบริหารจัดการนํ้า
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
- หุ่นยนต์บริการสำหรับงานภายในอาคาร
หลักสูตรสหสาขาวิชาวิศวกรรมชีวเวช
- รถ CU กองหนุน
ภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์
- การพัฒนาวัสดุเพื่อการตรวจวัดรังสี
- การสำรวจและวิเคราะห์รังสีในสิ่งแวดล้อม
ท่านที่สนใจรายละเอียดผลงานวิจัยแต่ละเรื่อง สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก E-Magazine Chula Engineering 2020 ฉบับที่ 2